วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 13


การระดมความคิดของปฐมวัย

   นิทานเวที
   นิทรรศการสื่อ
   เล่นดนตรี
  ร้องเพลง
  เล่านิทาน
   เล่นเกม
   รำ
   งานศิลปะ
  เต้น

1. การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัวเด็ก
2. ประสบการณ์  คือ ต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3. การนับหรือการเรียง  ต้องเรียงจากซ้ายไปขวา เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4. การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5. การแยก     เป็นพื้นฐานของการลบ
6. การรวม     เป็นพื้นฐานของการบวก
7. ภาษา/คณิตศาสตร์    เป็นเครื่องมือที่พัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8. ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำ  แสดงว่า จะเป็นแค่เพียงการรับรู้เท่านั้น


      ร้องเพลง
      เล่านิทาน     =    3  อย่านี้สามารถใช้ร่วมกันในการเล่านิทานได้
      เต้น

โอกาสที่เด็กจะทำได้มีสูงเพราะเด็กสามารถทำเป็นประจำได้ การลงมือกระทำจะประสบความสำเร็จดีมาก

9. เครื่องมือที่การวัดที่เป็นทางการ  ไม่ควรนำม่ใช้กับเด็ก  เช่น  ไม้บรรทัด
10. ควรใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ  เช่น  คืบ  ฝ่ามือ  
        - สาระที่ 2 การวัด  มาตรฐาน  เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและความยาว
        - สาระที่ 3 เลขาคณิต   มาตรฐาน  รู้จักตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปทรง
        - สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น   มาตรฐาน  การนำเสนอข้อมูล / การรวบรวมข้อมูล


สิ่่งที่เด็กต้องรู้
  สิ่งของบางอย่างต่างกัน  สิ่งของบางอย่างเหมือนกัน เด็กจึงต้องดูและแยกแยะให้ได้ว่าต่างและเหมือนกันอย่างไร

วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 11

 


   วันนี้เป็นวันครูแห่งชาติ  อาจารย์ให้เข้าไปร่วมกิจกรรมในห้องประชุมศูนย์ครู  ที่ตึกคณะศึกษาศาสตร์

วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 8



ส่งงานวงกลม

เนื้อหา/สาระ

1. ตัวชี้วัด  = สากล  คุณภาพ  เกณฑ์การประเมิน  เป็นที่ยอมรับ  ตัววัดผล

ในชีวิตประจำวัน  คำว่า มาตรฐาน  อยู่ไหนบ้าง

- การสอน  โรงเรียน  สินค้า
      มาตรฐาน  คือ  ขั้นต่ำของคุณภาพ / เกณฑ์ขั้นต่ำ
- มาตรฐาน  เป็นเรื่องสำคัญมาก
     คณิตศาสตร์/ภาษา  =  เป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้  ในชีวิตของการคิด  การอธิบาย  การสื่อสาร

2. กรอบ = กฎเกณฑ์  ข้อจำกัด  ขอบเขต

- ศัตรูที่ขัดต่อความคิดสร้างสรร คือ  ความเชื่อมั่น
- ปัจจัยที่ขัดต่อความคิดสร้างสรร  คือ  ตัวครู  

กรอบมาตราฐาน  โดย  สสวท.
1.การนับ = เป็นฐานของการบวก
2.การวัด = การใช้เครื่องมือเพื่อหาค่า/ปริมาณ
3.เลขาคณิต = รูปทรงมิติ  เช่น  ทรงกลม 
4.พีชคณิตศาตร์ = ความเข้าใจแบบรูป/ความสัมพันธ์เช่น  2 4 6 8 ...   เพราะว่ามีแบบรูปเพิ่มมาทีละ 2 การที่จะหาความสัมพันธ์ได้  คือ  การใช้เหตุผล
5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น = การรวบรวมข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับจำนวน/ความรู้  แล้วนำเสนอ

งานที่รับมอบหมาย

หารูปที่่มีรูปทรงกลม  แล้ววาดลงกระดาษแข็ง ขนาดเท่ากับA4 เพื่อประดิษฐ์เป็นสื่อ



วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 7



-อาจารย์ให้ส่งงาน

กิจกรรม

-อาจารย์ให้หยิบกล่องคนล่ะกล่องแล้วจับให้จับกลุ่ม 10 คน นำกลุ่มมาต่อกันเป็นอะไรก็ได้

-นำนำผลงานต่างๆที่แต่ล่ะกลุ่มทำ มารวมกันแล้วสร้างเป็นเมือง






งานที่ได้รับ
1 ตัดกล่องกระดาษ เป็นขนาด 1นิ้ว 1.5นิ้ว 2นิ้ว อย่างล่ะ 3 สี เขียว เหลือง ชมพู